เป้าหมาย (Understanding Goal):

เป้าหมาย (Understanding Goal) :

1. เข้าใจความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติตระหนักถึงผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ป่าและสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นใหม่แล้วส่งผลต่อโลก สังคม และชุมชน เข้าใจและเห็นคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ เชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างคนในชุมชนกับป่า

2. เข้าใจกระบวนการของชุมชนที่มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และพัฒนาป่าโคกหีบให้คงอยู่อย่างยั่งยืนและเกิดประโยชน์สูงสุด

Main



Mind mapping

web เชื่อมโยงสาระการเรียนรู้


Big  Question :

1. ป่าโคกหีบมีความสำคัญกับคนในชุมชนอย่างไร ?
2.  
ถ้าไม่มีป่าโคกหีบจะเกิดอะไรขึ้นและส่งผลกระทบต่อนักเรียนและคนในชุมชนและโลกอย่างไรบ้าง ?

ภูมิหลังของปัญหา:

          "ป่าโคกหีบ" ป่าผืนสุดท้ายของชุมชนบ้านกวางงอย มีประวัติศาสตร์อันยาวนานและน่าค้นหา ในอดีตป่าโคกหีบมีพื้นที่เกือบ 100 ไร่ แต่ปัจจุบันเหลือพื้นที่ไม่ถึง 60ไร่ ป่าโคกหีบเคยเป็นศูนย์รวมของสรรพชีวิต เป็นที่ก่อกำเนิดสายน้ำ ชีวิตพืชและสัตว์ที่หลากหลายอีกทั้งยังเป็นที่พึ่งพิงและให้ประโยชน์แก่ชุมชนมาแต่โบราณกาล ปัจจุบันป่าโคกหีบซึ่งเป็นป่าตามธรรมชาติ ได้ถูกทำลายโดยการตัดไม้และการเผาป่าซึ่งเกิดขึ้นจากหลายสาเหตุ เช่น การนำต้นไม้มาเผาถ่าน นำไม้มาใช้หรือจำหน่าย และตั้งถิ่นฐาน การตัดไม้โดยไม่ปลูกทดแทนด้วยจำนวนที่เพียงพอ การบุกรุกแผ้วถางเป็นพื้นที่ทำกินส่วนบุคคล การทิ้งขยะและของเสียก่อให้เกิดความเสียหายต่อความหลากหลายทางชีวภาพ และปัญหาความแห้งแล้ง ซึ่งส่งผลเสียต่อการกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ ระบบนิเวศเสียสมดุล พืชและสัตว์พื้นถิ่นบางชนิดในบริเวณป่าถูกทำลายและหายไปจากพื้นที่ 
   
ปัจจัยบางประการที่ทำให้เกิดการตัดไม้ทำลายป่า การบุกรุกพื้นที่ป่าคือ ความไม่เอาใจใส่หรือความไม่รู้คุณค่าที่แท้จริง ขาดการให้คุณค่า การจัดการป่าไม้ที่ไม่เข้มงวด และกฎหมายสิ่งแวดล้อมที่บกพร่อง
   
จากปัญหาดังกล่าว จึงเป็นแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ เพื่อสร้างความเข้าใจ ตระหนัก เห็นคุณค่าและความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างป่า สิ่งแวดล้อม และคนในชุมชน รวมทั้งสร้างทัศนในการดูแล การอนุรักษ์ และการใช้ประโยชน์จากป่าของชุมชนให้คงอยู่อย่างยั่งยืน




ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐานการเรียนรู้ (ตัวชี้วัด) แต่ละกลุ่มสาระ
PBL หน่วย : เสียงกระซิบจากผืนป่า ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 (Quarter 2)


สาระการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปศึกษา
หน้าที่พลเมือง
สร้างฉันทะ และแรงบันดาลใจในการเรียนรู้

มาตรฐาน ว 8.1
-      ตั้งคำถามเกี่ยวกับหัวข้อที่อยากศึกษาได้
 (8.1.6/1 )
-      วางแผนการสังเกต
การสำรวจ เสนอ ตรวจสอบและคาดการณ์สิ่งที่จะพบได้ 
( 8.1 .6/2 )
-      ตั้งคำถามใหม่เพื่อการสำรวจ ได้อย่างมีเหตุผล (8.1 .6/5)
-      สามารถอธิบายแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระในสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง ได้อย่างมีเหตุผล( 8.1 .6/6 )
-      นำเสนอหัวข้อที่อยากเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผล (8.1.6/8 )
มาตรฐาน ส 2.1
-     มีมารยาทและยอมรับในความคิด และความเชื่อของผู้อื่นที่มีความแตกต่างจากตนเองในการเลือกและกำหนดสิ่งที่อยากเรียนรู้ ได้
(2.1 .6/ 3)
-     เคารพและให้เกียรติในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ 
(2.1. 6/4)
มาตรฐาน ส 4.1   
-   แสดงลำดับเหตุการณ์สำคัญของโรงเรียนและชุมชนโดยระบุหลักฐานและแหล่งข้อมูล
(4.1 .6/2)
มาตรฐาน ส 4.2
เปรียบเทียบความเหมือน
และความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ
(4.2 .6/3)
มาตรฐาน ง1.1
สามารถทำงานได้ด้วยตนเองและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น พร้อมกับยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
( 1.1 .6/2 )
-    ทำงานได้ด้วยตนเอง แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและมีความระมัดระวังรอบคอบในการทำงาน
(1.1 .6/3)
มาตรฐาน ง 2.1
มีความคิดสร้างสรรค์สามารถนำสิ่งที่ได้ดูได้ฟัง และได้เห็นไปถ่ายทอดเป็นชิ้นงานภาพวาด ได้ 
(2.1.6/4)
มาตรฐาน พ 2.1
สร้างสัมพันธภาพต่อตนเองและต่อสมาชิกในกลุ่มเพื่อนร่วมชั้นในการเลือกหัวข้อและวางแผนการเรียนรู้ได้(2.1 . 6/1)
มาตรฐาน ศ1.1
นำสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง ได้เห็นสร้างงานศิลปะโดยใช้เทคนิคเรื่องสี แสง เงา ความกลมกลืน สื่อถึงเรื่องราวที่อยากศึกษาได้
(1.1 . 6/1-7)








จุดเน้นที่ 1
เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมกับกาลเทศะ         
เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำรงชีวิตในสังคมไทย     
 จุดเน้นที่ 3
ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม        
จุดเน้นที่ 5
เข้าใจและแสดงออกถึงการเคารพในสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น





สาระการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปศึกษา
หน้าที่พลเมือง
-   กระบวนการได้มาซึ่งหัวข้อ
-  การวางแผนการเรียนรู้ตลอด 10 สัปดาห์

มาตรฐาน ว 8.1
-      ตั้งคำถามเกี่ยวกับหัวข้อที่อยากศึกษาได้
 (8.1 .6/1 )
-      วางแผนการสังเกต
การสำรวจ เสนอ ตรวจสอบและคาดการณ์สิ่งที่จะพบได้
( 8.1 .6/2 )
-      ตั้งคำถามใหม่เพื่อการสำรวจ ได้อย่างมีเหตุผล
 (8.1 .6/5)

-      สามารถอธิบายแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระในสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง ได้อย่างมีเหตุผล
( 8.1 .6/6 )
-      นำเสนอหัวข้อที่อยากเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผล
 (8.1.6/8 )
มาตรฐาน ส 2.1
-     มีมารยาทและยอมรับในความคิด และความเชื่อของผู้อื่นที่มีความแตกต่างจากตนเองในการเลือกและกำหนดสิ่งที่อยากเรียนรู้ ได้  (2.1 .6/3)
-     เคารพและให้เกียรติในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ
(2.1 . 6/4)
มาตรฐาน ส 4.1   
แสดงลำดับเหตุการณ์สำคัญของโรงเรียนและชุมชน      
โดยระบุหลักฐานและแหล่งข้อมูล(4.1 .6/2)
มาตรฐาน ส 4.2
- ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน
 (4.2 .6/1)
-          สรุปลักษณะที่สำคัญของขนมธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชน (4.2 .6/2)


-          เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ
(4.2 .6/3)
มาตรฐาน ง1.1
-    สามารถทำงานได้ด้วยตนเองและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น พร้อมกับยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
( 1.1 .6/2 )
-    ทำงานได้ด้วยตนเอง แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและมีความระมัดระวังรอบคอบในการทำงาน (1.1 .6/3)
มาตรฐาน ง 2.1
 มีความคิดสร้างสรรค์สามารถนำสิ่งที่ได้ดูได้ฟัง และได้เห็นไปถ่ายทอดเป็นชิ้นงานภาพวาด รวมทั้งวางแผนล่วงหน้าในการเรียนได้ (2.1.6/4)
มาตรฐาน พ 2.1
สร้างสัมพันธภาพต่อตนเองและต่อสมาชิกในกลุ่มเพื่อนร่วมชั้นในการเลือกหัวข้อและวางแผนการเรียนรู้ได้
(2.1 . 6/1)
มาตรฐาน ศ1.1
นำสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง ได้เห็นสร้างงานศิลปะโดยใช้เทคนิคเรื่องสี แสง เงา ความกลมกลืน สื่อถึงเรื่องราวที่อยากศึกษาได้
(1.1 . 6/1-7)
จุดเน้นที่ 1
เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมกับกาลเทศะ          
เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำรงชีวิตในสังคมไทย     
 จุดเน้นที่ 3
ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม          
จุดเน้นที่ 5
เข้าใจและแสดงออกถึงการเคารพในสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น




สาระการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปศึกษา
หน้าที่พลเมือง
ปัญหาที่ส่งผลกระทบของปริมาณป่าที่ลดลงและสิ่งแวดล้อมที่หายไป
(ระดับโลก)

มาตรฐาน ว 2.2
-     วิเคราะห์ผลของการเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์ต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศทั้งต่อโลก สังคม ชุมชนและตัวเราเอง
-     ( 2.2  ป.6/2 )
-     อภิปรายผลที่เกิดจากความเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศที่มีต่อสิ่งมีชีวิตต่างๆ ทั้งโดยทางธรรมชาติและมนุษย์
( 2.2 /.6/3 )
-     อภิปรายแนวทางในการอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาป่าในชุมชนให้อยู่ได้อย่างยั่งยืน
( 2.2 /.3/6)
-     วิเคราะห์สภาพปัญหา  สาเหตุของปัญหาที่เกิดจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศและระดับโลก
(2.2  .4/1)
อภิปรายและมีส่วนร่วมในการดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และป่าชุมชนได้อย่างยั่งยืน
( 2.2 .3/6)
มาตรฐาน  ว 8.1
-     สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบายลงความเห็น สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับแนวทางการอนุรักษ์  ฟื้นฟูและพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ให้อยู่ได้อย่างยั่งยืน รวมทั้งป่าไม้ในอนาคตได้
 (8.1  .6/6 )
-  สร้างสารคดีหรือรูปแบบที่อธิบายให้เห็นความสำคัญของทรัพยากรป่าไม้ในชุมชนได้
 (8.1 .1/6 )
-  นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(8.1.6/8 )
มาตรฐาน  ส 3.1
อธิบายวิธีและประโยชน์ของการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน (3.1 .6/3)
มาตรฐาน  ส 5.2
-          อธิบายการเปลี่ยนแปลงสภาพธรรมชาติของประเทศไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน และผลที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนั้น
( 5.2 /.6/2)
- จัดทำแผนการใช้ทรัพยากรในชุมชน
( 5.2 .6/3)
- วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคม อันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรธรรมชาติทั้งในระดับโลก  ประเทศและชุมชน(5.2 .3/1)
-          วิเคราะห์สถานการณ์และวิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยและโลก
( 5.2 .4/1)                     
-  ระบุแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ในชุมชนของตนเองได้
( 5.2  .4/3)
-     มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาและการดำเนินชีวิตตามแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
( 5.2  .4/5)
มาตรฐาน ส 4.1   
แสดงลำดับเหตุการณ์สำคัญของโรงเรียนและชุมชน      
โดยระบุหลักฐานและแหล่งข้อมูล
(4.1 .6/2)
มาตรฐาน ส 4.2
- ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ ตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน
(4.2 .6/1)
- สรุปลักษณะที่สำคัญของขนมธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชน
 (4.2 .6/2)
-  เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ (4.2 .6/3)
มาตรฐาน   ง 1.1
-     อภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานในแต่ละขั้นตอนได้
(1.1 /.6 /1 )
-     ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ (1.1 /.1 /2 )
-     ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล
(1.1 /.1 /3 )
-     ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(1.1 .6 /3 )
- ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานอย่างคุ้มค่าและยั่งยืนเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
(1.1.4 /7)
มาตรฐาน ง 3.1
-ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบต่างๆได้อย่างเหมาะสมกับลักษณะงาน
   (3.1 .3 /3)
-  ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากความเข้าใจตามจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวันอย่างมีจิตสำนึก และความรับผิดชอบได้
(3.1  .6 /5 )

มาตรฐาน  พ 2.1
อธิบายความสำคัญของการสร้างและรักสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ (2.1/.6/5  )
มาตรฐาน  พ 4.1
สามารถแสดงพฤติกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
 (4.1/.6/1  )
มาตรฐาน  พ 5.1
-      วิเคราะห์ผลกระทบจากการเปลี่ยน
แปลงทางทรัพยากร
ธรรมชาติที่มีต่อร่างกาย  จิตใจและสังคม
(5.1 .6/1)
- ระบุวิธีปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ
    (5.1 .6/2  )

มาตรฐาน ศ 1.1
-สามารถสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เกี่ยวกับการทำป้ายอนุรักษ์ป่าใช้หลักการเรื่องสี การจัดความสมดุล ความกลมกลืนของรูปและพื้นที่ว่างได้
(1.1.6/1/-6)
-สามารถสร้างงานทัศนศิลป์ เป็นแผนภาพ แผนผังและภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิด หรือเรื่องราวเกี่ยวกับป่าในอนาคตได้
( 1.1.6/7)
- สามารถออกแบบรูปภาพ  สัญลักษณ์ ในการนำเสนอความคิดและข้อมูลเกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าในชุมชนได้
( 1.1 .1/5)
มาตรฐาน ศ 1.2
- บรรยายบทบาทของงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนวิถีชีวิตในชุมชนเกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าในชุมชนได้
( 1.2.6/1/2)
จุดเน้นที่ 3
เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทในการใช้พื้นที่ส่วนรวมได้เหมาะสม
เห็นคุณค่าของป่าที่มีผลต่อการดำรงชีวิตในสังคมไทย    
 จุดเน้นที่ 4
ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม         
เข้าใจและแสดงออกถึงการเคารพในสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น



สาระการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปศึกษา
หน้าที่พลเมือง
ปัญหาและการอนุรักษ์ป่าโคกหีบทรัพยากร
ธรรมชาติ(ชุมชน)

มาตรฐาน ว 2.2
-   วิเคราะห์ผลของการเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์ต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศทั้งต่อโลก สังคม ชุมชนและตัวเราเอง
( 2.2 .6/2 )
-   อภิปรายผลที่เกิดจากความเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศที่มีต่อสิ่งมีชีวิตต่างๆ ทั้งโดยทางธรรมชาติและมนุษย์  
( 2.2 .6/3 )
-   อภิปรายแนวทางในการอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาป่าในชุมชนให้อยู่ได้อย่างยั่งยืน
( 2.2 .3/6)
-   วิเคราะห์สภาพปัญหา  สาเหตุของปัญหาที่เกิดจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศและระดับโลก
(2.2 .4/1)
มาตรฐาน  ว 8.1
-   สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบายลงความเห็น สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับแนวทางการอนุรักษ์  ฟื้นฟูและพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ให้อยู่ได้อย่างยั่งยืน รวมทั้งป่าไม้ในอนาคตได้ (8.1  .6/6 )
-   สร้างสารคดีหรือรูปแบบที่อธิบายให้เห็นความสำคัญของทรัพยากรป่าไม้ในชุมชนได้
(8.1  .1/6 )
-   นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้ 
(8.1 .6/8)

มาตรฐาน  ส 3.1
-  อธิบายวิธีและประโยชน์ของการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน ( 3.1 .6/3)
มาตรฐาน  ส 5.2
-  อธิบายการเปลี่ยนแปลงสภาพธรรมชาติของประเทศไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน และผลที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนั้น
(5.2  ป.6/2)
-  จัดทำแผนการใช้ทรัพยากรในชุมชน
( 5.2  ป.6/3)
-  วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคม อันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรธรรมชาติทั้งในระดับโลก  ประเทศและชุมชน
 ( 5.2 .3/1)
- วิเคราะห์สถานการณ์และวิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยและโลก
( 5.2  .4/1)
-  ระบุแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ในชุมชนของตนเองได้
( 5.2  .4/3)
-  มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาและการดำเนินชีวิตตามแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
( 5.2  .4/5)
มาตรฐาน ส 4.1   
- แสดงลำดับเหตุการณ์สำคัญของโรงเรียนและชุมชนโดยระบุหลักฐานและแหล่งข้อมูล
  (4.1 .6/2)
มาตรฐาน ส 4.2
-      ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ ตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน
 (4.2 .6/1)
-      สรุปลักษณะที่สำคัญของ       ขนมธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชน
(4.2 .6/2)
-      เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ
   (4.2 .6/3)
มาตรฐาน   ง 1.1
-   อภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานในแต่ละขั้นตอนได้ 
(1.1 .6 /1 )
-   ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ
-    (1.1 .1 /2 )
-   ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล
(1.1  .1 /3 )
-   ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(1.1  ป.6 /3 )
-   ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานอย่างคุ้มค่าและยั่งยืนเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
(1.1  .4 /7)
มาตรฐาน ง 3.1
-   ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบต่างๆได้อย่างเหมาะสมกับลักษณะงาน
(3.1 .3/3)
-   ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากความเข้าใจตามจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวันอย่างมีจิตสำนึก และความรับผิดชอบได้
(3.1  .6 /5 )

มาตรฐาน  พ 2.1
- อธิบายความ สำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้( 2.1 .6/5 )
มาตรฐาน  พ 4.1
-  สามารถแสดงพฤติกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
( 4.1 .6/1  )
มาตรฐาน  พ 5.1
-  วิเคราะห์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางทรัพยากร
ธรรมชาติที่มีต่อร่างกาย  จิตใจและสังคม
( 5.1 .6/1  )
- ระบุวิธีปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ
(5.1 .6/2  )

มาตรฐาน ศ 1.1
-  สามารถสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เกี่ยวกับการทำป้ายอนุรักษ์ป่าใช้หลักการเรื่องสี การจัดความสมดุล ความกลมกลืนของรูปและพื้นที่ว่างได้
( 1.1 . 6/1-/6)
-  สามารถสร้างงานทัศนศิลป์ เป็นแผนภาพ แผนผังและภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิด หรือเรื่องราวเกี่ยวกับป่าในอนาคตได้
( 1.1 .6/7)
-  สามารถออกแบบรูปภาพ  สัญลักษณ์ ในการนำเสนอความคิดและข้อมูล
-  เกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าในชุมชนได้
( 1.1 .1/5)
มาตรฐาน ศ 1.2
-  บรรยายบทบาทของงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนวิถีชีวิตในชุมชนเกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าในชุมชนได้
 ( 1.2 .6/1/2)
จุดเน้นที่ 3
เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทในการใช้พื้นที่ส่วนรวมได้เหมาะสม
เห็นคุณค่าของป่าที่มีผลต่อการดำรงชีวิตในสังคมไทย    
 จุดเน้นที่ 4
ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม         
เข้าใจและแสดงออกถึงการเคารพในสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น




สาระการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปศึกษา
หน้าที่พลเมือง
คุณค่าและความสำคัญของป่า  (อากาศ / ปัจจัยสี่)

มาตรฐาน ว 1.1
-      ทดลองปัจจัยที่จำเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชและอธิบายว่าแสงคลอโรฟิลล์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้ำ เป็นปัจจัยที่จำเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง
( 1.1.1/5 )
-      ทดลองและอธิบายการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
( 1.1.1/6  )
-      อธิบายความสำคัญของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม
 ( 1.1.1/7)
มาตรฐาน ว 1.2
สำรวจและอธิบายความหลากหลายทางชีวภาพในป่าชุมชนที่ทำให้สิ่งมีชีวิตดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างสมดุล
( 1.2 .3/4 )
มาตรฐาน ว 2.1
-      อธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในรูปของห่วงโซ่อาหารและสายใยอาหารได้
( 2.1  .6/2 )
-      สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นได้
( 2.1  .6/3 )
-      สำรวจระบบนิเวศในป่าโคกหีบและอธิบายความสัมพันธ์ขององค์ประกอบภายในระบบนิเวศ ( 2.1  .3/1 )
มาตรฐาน ว 2.1
อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรในระบบนิเวศของป่าโคกหีบ
( 2.1 /.3/4 )
มาตรฐาน ว 8.1
นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้ 
(8.1 .6/8 )
มาตรฐาน  ส 3.1
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางระบบนิเวศในป่าโคกหีบ ระบุปัญหาที่พบและเสนอแนวทางแก้ไข
( 3.1  ม.4/4)
มาตรฐาน  ส 5.1
-        สามารถใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
( แผนที่  ภาพถ่ายชนิดต่างๆ ) ระบุลักษณะสำคัญทางกายภาพของป่าชุมชนของตนเองได้
( 5.1  ป.6/1 )
-        อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
(5.1  ป.6/2)
มาตรฐาน  ส 5.2
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อมทางสังคมได้( 5.2 /.6/1)
มาตรฐาน ส 4.1   
 แสดงลำดับเหตุการณ์สำคัญของโรงเรียนและชุมชนโดยระบุหลักฐานและแหล่งข้อมูล
(4.1 .6/2)
มาตรฐาน ส 4.2
-   ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน
(4.2 .6/1)
-   สรุปลักษณะที่สำคัญของขนมธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชน
 (4.2 .6/2)
-   เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ
(4.2 .6/3)
มาตรฐาน   ง 1.1
-      อภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานในแต่ละขั้นตอนได้
(1.1  ป.6 /1 )
-      ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ  (1.1.1 /2 )
-      ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล
(1.1.1 /3 )
-      ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(1.1.6 /3 )
มาตรฐาน ง 3.1
-   ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต/คน/พืช /สัตว์ ในรูปแบบต่างๆได้อย่างเหมาะสมกับลักษณะงาน
(3.1 /.3 /3)
-   ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากความเข้าใจตามจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวันอย่างมีจิตสำนึก และความรับผิดชอบได้
(3.1 /.6 /5 )

มาตรฐาน  พ 1.1
วิเคราะห์ภาวะ
การเจริญเติบโตพัฒนาการของสิ่งมีชีวิต/คน/พืช/สัตว์ (1.1.6/1)
มาตรฐาน  พ 2.1
อธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
( 2.1.6/5  )

มาตรฐาน ศ 1.1
-   สามารถสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต/คน/พืช /สัตว์โดยใช้หลักการเรื่องสี การจัดความสมดุล ความกลมกลืนของรูปและพื้นที่ว่างได้
  (1.1 . 6/1- 6)
-   สามารถสร้างงานทัศนศิลป์ เป็นแผนภาพ แผนผังและภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิด หรือเรื่องราวเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต/คน/พืช /สัตว์ได้
( 1.2/.6/1/2/3)
จุดเน้นที่ 1
เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมกับกาลเทศะ          
เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำรงชีวิตในสังคมไทย     
 จุดเน้นที่ 3
ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม          



สาระการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปศึกษา
หน้าที่พลเมือง
-        ประเภทของป่า
-        พื้นที่ป่าอนุรักษ์/อุทยานแห่งชาติ
-        สัตว์ป่าสงวน

มาตรฐาน ว 1.1
- สามารถอธิบาย ความหมาย โครงสร้าง  องค์ประกอบและประเภทของป่ารวมทั้งระบบนิเวศในป่าได้
    ( 1.1.6/2  )
- สามารถอธิบายระบบย่อยอาหาร ปรุงอาหาร การสืบพันธุ์ของ คน พืชและสัตว์ได้
( 1.1.6/3  )
- สังเกตและอธิบายรูปร่างลักษณะของพันธุ์ไม้ในป่าแต่ละประเภทได้ (1.1 .1/1 )
มาตรฐาน ว 1.2
สำรวจและอธิบายความหลากหลายในระบบนิเวศของป่าชุมชนได้
(2.1 .3/4)

มาตรฐาน ส 1.1
สามารถวิเคราะห์ความสำคัญของพุทธศาสนาและศาสนาอื่นที่สัมพันธ์กับวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมในสังคมที่อาศัยอยู่ได้
 (1.1 .6 /1 )    
มาตรฐาน ส 2.1
-   สามารถอธิบายคุณค่าทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกันระหว่างกลุ่มคนในแต่ละท้องถิ่นได้
(2.1  .6 /4)
-   สามารถแสดงออกถึงการอนุรักษ์ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม สถานที่สำคัญ ในชุมชนได้อย่างเหมาะสม
(2.1  .1 /2 )

มาตรฐาน ส 4.1   
แสดงลำดับเหตุการณ์สำคัญของโรงเรียนและชุมชนโดยระบุหลักฐานและแหล่งข้อมูล
(4.1 .6/2)
มาตรฐาน ส 4.2
-      ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ ตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน
(4.2 .6/1)
-      สรุปลักษณะที่สำคัญของ       ขนมธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชน (4.2 .6/2)
-      เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ
   (4.2 .6/3)
มาตรฐาน   ง 1.1
-    อภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานในแต่ละขั้นตอน
 (1.1  .6 /1 )
-    ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ (1.1  .1 /2 )
-    ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล
(1.1  .1 /3 )
-    ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(1.1  .6 /3 )
-    ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานอย่างคุ้มค่าและยั่งยืนเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
(1.1 . 4 /7)
มาตรฐาน  พ 2.1
อธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ (2.1.6/5)

มาตรฐาน  พ 3.1
ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน
( 3.1.4/2 )

มาตรฐาน ศ 1.1
-   สามารถสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เกี่ยวกับป่าและระบบนิเวศ โดยใช้หลักการเรื่องสี การจัดความสมดุล ความกลมกลืนของรูปและพื้นที่ว่างได้
(1.1 .6 1-6)
-   สามารถสร้างงานทัศนศิลป์ เป็นแผนภาพ แผนผังและภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิด หรือเรื่องราวเกี่ยวกับโครงสร้าง
และองค์ประกอบของระบบนิเวศได้
( 1.1 .6/7)
จุดเน้นที่ 1
เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมกับกาลเทศะ         
เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำรงชีวิตในสังคมไทย     
 จุดเน้นที่ 3
ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม        
จุดเน้นที่ 5
เข้าใจและแสดงออกถึงการเคารพในสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น



สาระการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปศึกษา
หน้าที่พลเมือง
-   ป่าโคกหีบ
-   เส้นทางสายวัฒนธรรม
-   หลักฐานทางประวัติศาสตร์
-   บุหีบ
-   เรื่องเล่าท้าวปาจิตกับนางอรพิม

มาตรฐาน ว 2.2
-   วิเคราะห์ผลของการเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์ต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศทั้งต่อโลก สังคม ชุมชนและตัวเราเอง (2.2  .6/2)
-   อภิปรายผลที่เกิดจากความเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศที่มีต่อสิ่งมีชีวิตต่างๆ ทั้งโดยทางธรรมชาติและมนุษย์ ( 2.2  .6/3 )
-   อภิปรายแนวทางในการอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาป่าในชุมชนให้อยู่ได้อย่างยั่งยืน
(2.2  .3/6 )
-   วิเคราะห์สภาพปัญหา  สาเหตุของปัญหาที่เกิดจากการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศและระดับโลก
(2.2  .4/1)
มาตรฐาน  ว 8.1
-   สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบายลงความเห็น สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับแนวทางการอนุรักษ์  ฟื้นฟูและพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ให้อยู่ได้อย่างยั่งยืน รวมทั้งป่าไม้ในอนาคตได้
(8.1 .6/6 )

-   สร้างสารคดีหรือรูปแบบที่อธิบายให้เห็นความสำคัญของทรัพยากรป่าไม้ในชุมชนได้
 (8.1 .1/6 )
-   นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้ 
(8.1 .6/8 )
มาตรฐาน  ส 3.1
อธิบายวิธีและประโยชน์ของการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน ( 3.1  ป.6/3)
มาตรฐาน  ส 5.2
-    อธิบายการเปลี่ยนแปลงสภาพธรรมชาติของประเทศไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน และผลที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนั้น
( 5.2 .6/2)
-    จัดทำแผนการใช้ทรัพยากรในชุมชน
( 5.2 .6/3)
-    วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคม อันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรธรรมชาติทั้งในระดับโลกประเทศและชุมชน
(5.2.3/1)
-    วิเคราะห์สถานการณ์และวิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยและโลก
( 5.2  .4/1)
-    ระบุแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ในชุมชนของตนเองได้
( 5.2  .4/3)
-    มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาและการดำเนินชีวิตตามแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
( 5.2  .4/5)
มาตรฐาน ส 4.1   
แสดงลำดับเหตุการณ์สำคัญของโรงเรียนและชุมชนโดยระบุหลักฐานและแหล่งข้อมูล (4.1 .6/2)
มาตรฐาน ส 4.2
-   ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน
(4.2 .6/1)
-   สรุปลักษณะที่สำคัญของ       ขนมธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชน (4.2 .6/2)
-   เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ
(4.2 .6/3)
มาตรฐาน ส 4.3
 เล่าวีรกรรมของบรรพบุรุษไทยที่มีส่วนปกป้องประเทศชาติ
(4.3 .6/3)

มาตรฐาน   ง 1.1
-     อภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานในแต่ละขั้นตอนได้
(1.1 .6 /1 )
-     ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ (1.1.1 /2 )
-     ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล
(1.1  ม.1 /3 )
-     ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(1.1.6 /3 )
-     ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานอย่างคุ้มค่าและยั่งยืนเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
(1.1  ม.4 /7)
มาตรฐาน ง 3.1
-     ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบต่างๆได้อย่างเหมาะสมกับลักษณะงาน
(3.1  ม.3 /3)
-     ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากความเข้าใจตามจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวันอย่างมีจิตสำนึก และความรับผิดชอบได้
(3.1  ป.6 /5 )

มาตรฐาน  พ 2.1
อธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ (2.1 .6/5 )
มาตรฐาน  พ 4.1
สามารถแสดงพฤติกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
( 4.1.6/1  )
มาตรฐาน  พ 5.1
- วิเคราะห์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรธรรมชาติที่มีต่อร่างกาย  จิตใจและสังคม
( 5.1.6/1  )
- ระบุวิธีปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ
(5.1.6/2)

มาตรฐาน ศ 1.1
-   สามารถสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เกี่ยวกับการทำป้ายอนุรักษ์ป่าใช้หลักการเรื่องสี การจัดความสมดุล ความกลมกลืนของรูปและพื้นที่ว่างได้
( 1.1 .6/1-6)
-   สามารถสร้างงานทัศนศิลป์ เป็นแผนภาพ แผนผังและภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิด หรือเรื่องราวเกี่ยวกับป่าในอนาคตได้
( 1.1 .6/7)
-   สามารถออกแบบรูปภาพ  สัญลักษณ์ ในการนำเสนอความคิดและข้อมูลเกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าในชุมชนได้
( 1.1 .1/5)
มาตรฐาน ศ 1.2
บรรยายบทบาทของงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนวิถีชีวิตในชุมชนเกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าในชุมชนได้
( 1.2 .6/1,2)
จุดเน้นที่ 1
เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมกับกาลเทศะ         
เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำรงชีวิตในสังคมไทย     
 จุดเน้นที่ 3
ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม        
จุดเน้นที่ 5
เข้าใจและแสดงออกถึงการเคารพในสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น



สาระการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
  
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปศึกษา
หน้าที่พลเมือง
- ระบบนิเวศ ห่วงโซ่อาหาร
สายใยอาหาร ความสัมพันธ์ของป่าและสิ่งมีชีวิต
- พืชและสัตว์ที่อยู่ในพื้นที่ป่าโคกหีบ

มาตรฐาน ว 1.1
-   สามารถอธิบาย ความหมาย โครงสร้าง  องค์ประกอบและประเภทของป่ารวมทั้งระบบนิเวศในป่าได้
-    ( 1.1 .6/2  )
-   สามารถอธิบายระบบย่อยอาหาร ปรุงอาหาร การสืบพันธุ์ของ คน พืชและสัตว์ได้
 ( 1.1 .6/2  )
-   สังเกตและอธิบายรูปร่างลักษณะของพันธุ์ไม้ในป่าแต่ละประเภทได้
(1.1 .1/1 )
มาตรฐาน ว 1.2
สำรวจและอธิบายความหลากหลายในระบบนิเวศของป่าชุมชนได
 (2.1 .3/4)
มาตรฐาน ว 2.2
เห็นความสำคัญของทรัพยากรในป่าชุมชนและนำเสนอการใช้ทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างคุ้มค่าและยั่งยืน (2.2 .6/5)
มาตรฐาน ว 8.1
-   แสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระและสรุปสิ่งที่เรียนรู้เกี่ยวกับป่าและระบบนิเวศในป่าได้
(8.1.6/6)
-   สามารถบันทึกและอธิบายผลการสำรวจป่าในท้องถิ่นได้ตามความเป็นจริง
(8.1.6/7)

มาตรฐาน ส 1.1
สามารถวิเคราะห์ความสำคัญของพุทธศาสนาและศาสนาอื่นที่สัมพันธ์กับวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมในสังคมที่อาศัยอยู่ได้ (1.1 .6/1)
มาตรฐาน ส 2.1
- สามารถอธิบายคุณค่าทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกันระหว่างกลุ่มคนในแต่ละท้องถิ่นได้
 (2.1.6 /4 )
- สามารถแสดงออกถึงการอนุรักษ์ธรรมชาติ สิ่งแวด ล้อม สถานที่สำคัญ ในชุมชนได้อย่างเหมาะสม
(2.1  ม.1 /2 )
มาตรฐาน  ส 2.1
สามารถติดตามข่าวสารในชีวิตประจำวัน เลือกรับ เลือกใช้ ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศ ในการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม
(2.1  ป.6 /5)
มาตรฐาน ส  2.2
-   สามารถเปรียบเทียบ อธิบาย วิเคราะห์บทบาทหน้าที่ขององค์กรท้องถิ่นที่มีต่อการดูแลสิ่งแวดล้อมและป่าในชุมชนได้
-   (2.2  .6 /1 )
-   สามารถปฏิบัติตนและมีส่วนร่วมต่อการดูแลสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศในท้องถิ่นได้
(2.2  .6 /2 )

มาตรฐาน ส 4.1   
 แสดงลำดับเหตุการณ์สำคัญของโรงเรียนและชุมชนโดยระบุหลักฐานและแหล่งข้อมูล
 (4.1 .6/2)
มาตรฐาน ส 4.2
- ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ ตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน
(4.2 .6/1)
- สรุปลักษณะที่สำคัญของ ขนมธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชน
(4.2 .6/2)
- เปรียบเทียบความเหมือนและ
ความต่างทางวัฒนธรรม
ของชุมชนตนเองกับชุมชน
อื่นๆ (4.2 .6/3)
มาตรฐาน   ง 1.1
- อภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานในแต่ละขั้นตอน
(1.1  .6 /1 )
- ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ (1.1  .1 /2 )
- ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล
(1.1  .1 /3 )
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น (1.1.6 /3)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานอย่างคุ้มค่าและยั่งยืนเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
(1.1 .4 /7)
มาตรฐาน ง 3.1
ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากความเข้าใจตามจินตนาการเกี่ยวกับการดูแลรักษาธรรมชาติและระบบนิเวศของป่าไม้ในชุมชนอย่างมีจิตสำนึก และความรับผิดชอบได้
(3.1  .6 /5 )

มาตรฐาน  พ 2.1
อธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ (2.1 .6/5)
มาตรฐาน  พ 3.1
ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีมในการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม(ในการปลูกป่า) โดยคำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน
( 3.1 .4/2 )


มาตรฐาน ศ 1.1
- สามารถสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เกี่ยวกับป่าและระบบนิเวศ โดยใช้หลักการเรื่องสี การจัดความสมดุล ความกลมกลืนของรูปและพื้นที่ว่างได้
( 1.1 .6/1-6)
- สามารถสร้างงานทัศนศิลป์ เป็นแผนภาพ แผนผังและภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิด หรือเรื่องราวเกี่ยวกับโครงสร้าง
และองค์ประกอบของระบบนิเวศได้
( 1.1 .6/7)
จุดเน้นที่ 1
เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมกับกาลเทศะ         
เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำรงชีวิตในสังคมไทย     
 จุดเน้นที่ 3
ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม        
จุดเน้นที่ 5
เข้าใจและแสดงออกถึงการเคารพในสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น



สาระการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปศึกษา
หน้าที่พลเมือง
-  การทดลองเกี่ยวกับระบบนิเวศ เช่น การสังเคราะห์แสง  ออกซิเจน การคายน้ำ ลำเลียงน้ำ แสงกับการเจริญเติบโต ปัจจัยที่มีผลต่อการงอก
-  ความสัมพันธ์ของป่าต่อมนุษย์ (ป่าคือผู้ให้ที่ยิ่งใหญ่)

มาตรฐาน ว 1.1
-      ทดลองปัจจัยที่จำเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชและอธิบายว่าแสงคลอโรฟิลล์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้ำ เป็นปัจจัยที่จำเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง
 ( 1.1 .1/5 )
-      ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
( 1.1 .1/6  )
-      อธิบายความสำคัญของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม
( 1.1 .1/7)
-      ทดลองแบะอธิบายเกี่ยวกับการลำเลียงน้ำของพืชได้
 ( 1.1 .1/8)
มาตรฐาน ว 1.2
สำรวจและอธิบายความหลากหลายทางชีวภาพในป่าชุมชนที่ทำให้สิ่งมีชีวิตดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างสมดุล
( 1.2 .3/4  )

มาตรฐาน ว 2.1
-      สามารถสำรวจและอภิปรายความสัมพันธ์ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ต่างๆได้ (2.1 .6/1 )
-      อธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในรูปของห่วงโซ่อาหารและสายใยอาหารได้
 ( 2.1 .6/2 )
-      สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นได้
( 2.1 .6/3 )
-      สำรวจระบบนิเวศในป่าโคกหีบและอธิบายความสัมพันธ์ขององค์ประกอบภายในระบบนิเวศ 
( 2.1 .3/1 )
มาตรฐาน ว 8.1
นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้ 
(8.1 .6/8 )

มาตรฐาน  ส 3.1
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางระบบนิเวศในป่าโคกหีบ ระบุปัญหาที่พบและเสนอแนวทางแก้ไข
(3.1 .4/4)
มาตรฐาน  ส 5.1
อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับปรากฏ การณ์ทางธรรมชาติ
(5.1  .6/2)
มาตรฐาน  ส 5.2
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อมทางสังคมได้ ( 5.2  .6/1)
มาตรฐาน ส 4.1   
แสดงลำดับเหตุการณ์สำคัญของโรงเรียนและชุมชนโดย ระบุหลักฐานและแหล่ง ข้อมูล
 (4.1 .6/2)
มาตรฐาน ส 4.2
- ระบุปัจจัยที่มีอิทธิ- พลต่อการตั้งถิ่นฐานและพัฒนา การของชุมชน
 (4.2 .6/1)
- สรุปลักษณะที่สำคัญของ ขนมธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชน(4.2 .6/2)
- เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ
 (4.2 .6/3)
มาตรฐาน   ง 1.1
-     อภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานในแต่ละขั้นตอนได้
(1.1 .6 /1 )
-     ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ
 (1.1  .1 /2 )
-     ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล
(1.1  .1 /3 )
-     ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(1.1  .6 /3 )
มาตรฐาน ง 3.1
-     ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต/คน/พืช /สัตว์
ในรูปแบบต่างๆได้อย่างเหมาะสมกับลักษณะงาน
(3.1  ม.3 /3)
-     ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากความเข้าใจตามจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวันอย่างมีจิตสำนึก และความรับผิดชอบได้
(3.1.6 /5 )

มาตรฐาน  พ 1.1
วิเคราะห์ภาวะ
การเจริญเติบโตพัฒนาการของสิ่งมีชีวิต/คน/พืช /สัตว์ ( 1.1 .6/1)
มาตรฐาน  พ 2.1
อธิบายความ สำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ( 2.1 .6/5  )

มาตรฐาน ศ 1.1
-  สามารถสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต/คน/พืช /สัตว์โดยใช้หลักการเรื่องสี การจัดความสมดุล ความกลมกลืนของรูปและพื้นที่ว่างได้
 ( 1.1 . 6/1-6)
-  สามารถสร้างงานทัศนศิลป์ เป็นแผนภาพ แผนผังและภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิด หรือเรื่องราวเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต/คน/พืช /สัตว์ได้
( 1.1 .6/7)
-  สามารถออกแบบรูปภาพ  สัญลักษณ์ ในการนำเสนอความคิดและข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต/คน/พืช /สัตว์ได้
 ( 1.1 .1/5)
มาตรฐาน ศ 1.2
บรรยายบทบาทของงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนวิถีชีวิตในชุมชนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต/คน/พืช /สัตว์ได้
 ( 1.2 .6/-3)
จุดเน้นที่ 1
เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมกับกาลเทศะ         
เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำรงชีวิตในสังคมไทย     
 จุดเน้นที่ 3
ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม        
จุดเน้นที่ 5
เข้าใจและแสดงออกถึงการเคารพในสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น



สาระการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปศึกษา
หน้าที่พลเมือง
ภูมิปัญญา /
นักอนุรักษ์/การพึ่งพาและเคารพธรรมชาติ
มาตรฐาน ว 2.2
-   วิเคราะห์ผลของการเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์ต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศทั้งต่อโลก สังคม ชุมชนและตัวเราเอง
( 2.2  .6/2 )
-   อภิปรายผลที่เกิดจากความเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศที่มีต่อสิ่งมีชีวิตต่างๆ ทั้งโดยทางธรรมชาติและมนุษย์
( 2.2  .6/3 )
-   อภิปรายแนวทางในการอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาป่าในชุมชนให้อยู่ได้อย่างยั่งยืน
( 2.2  .3/6)
-   วิเคราะห์สภาพปัญหา  สาเหตุของปัญหาที่เกิดจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ประเทศและระดับโลก
(2.2  .4/1)
-   อภิปรายและมีส่วนร่วมในการดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และป่าชุมชนได้อย่างยั่งยืน
 (2.2  .3/6)
มาตรฐาน  ว 8.1
-   สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบายลงความเห็น สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับแนวทางการอนุรักษ์  ฟื้นฟูและพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ให้อยู่ได้อย่างยั่งยืน รวมทั้งป่าไม้ในอนาคตได้ (8.1  ป.6/6 )
-   สร้างสารคดีหรือรูปแบบที่อธิบายให้เห็นความสำคัญของทรัพยากรป่าไม้ในชุมชนได้
 (8.1  ม.1/6 )
-   นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
  (8.1.6/8)
มาตรฐาน  ส 3.1
อธิบายวิธีและประโยชน์ของการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน( 3.1  .6/3)
มาตรฐาน  ส 5.2
-  อธิบายการเปลี่ยนแปลงสภาพธรรมชาติของประเทศไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน และผลที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนั้น
(5.2  .6/2)
-  จัดทำแผนการใช้ทรัพยากรในชุมชน
( 5.2 .6/3)
-  วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคม อันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรธรรมชาติทั้งในระดับโลก  ประเทศและชุมชน ( 5.2  .3/1)
-  วิเคราะห์สถานการณ์และวิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยและโลก
(5.2  .4/1)
มาตรฐาน  ส 5.2
-  ระบุแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ในชุมชนของตนเองได้( 5.2  .4/3)
-  มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาและการดำเนินชีวิตตามแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
( 5.2  .4/5)
มาตรฐาน ส 4.1   
แสดงลำดับเหตุการณ์สำคัญของโรงเรียนและชุมชนโดยระบุหลักฐานและแหล่งข้อมูล
(4.1 .6/2)
มาตรฐาน ส 4.2
-   ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ  ตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน
(4.2 .6/1)
-   สรุปลักษณะที่สำคัญของ ขนมธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชน
(4.2 .6/2)
-   เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ
(4.2 .6/3)

มาตรฐาน   ง 1.1
-   อภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานในแต่ละขั้นตอนได้
 (1.1  ป.6 /1 )
-   ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ (1.1  ม.1 /2 )
-   ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล
   (1.1  ม.1 /3 )
-   ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(1.1.6 /3 )
-   ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานอย่างคุ้มค่าและยั่งยืนเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
 (1.1  ม.4 /7)
มาตรฐาน ง 3.1
-   ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบต่างๆได้อย่างเหมาะสมกับลักษณะงาน
(3.1 .3/3)
-   ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากความเข้าใจตามจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวันอย่างมีจิตสำนึก และความรับผิดชอบได้
(3.1.6/5)

มาตรฐาน  พ 2.1
อธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
( 2.1.6/5 )
มาตรฐาน  พ 4.1
สามารถแสดงพฤติกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
( 4.1.6/1  )
มาตรฐาน  พ 5.1
-  วิเคราะห์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางทรัพยากร
ธรรมชาติที่มีต่อร่างกาย  จิตใจและสังคม
(5.1 .6/1)
-  ระบุวิธีปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ
(5.1 .6/2  )

มาตรฐาน ศ 1.1
-  สามารถสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เกี่ยวกับการทำป้ายอนุรักษ์ป่าใช้หลักการเรื่องสี การจัดความสมดุล ความกลมกลืนของรูปและพื้นที่ว่างได้
( 1.1 .6/1-6)
-  สามารถสร้างงานทัศนศิลป์ เป็นแผนภาพ แผนผังและภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิด หรือเรื่องราวเกี่ยวกับป่าในอนาคตได้
( 1.1 .6/7)
-  สามารถออกแบบรูปภาพ  สัญลักษณ์ ในการนำเสนอความคิดและข้อมูล
-  เกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าในชุมชนได้
( 1.1.1/5)
มาตรฐาน ศ 1.2
บรรยายบทบาทของงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนวิถีชีวิตในชุมชนเกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าในชุมชนได้ ( 1.2 .6/1-2)
จุดเน้นที่ 4
การทำงานร่วมกันอย่างมีเป้าหมายและเคารพในหน้าที่ของกันและกัน
จุดเน้นที่ 5
เข้าใจและแสดงออกถึงการเคารพในสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น



สาระการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปศึกษา
หน้าที่พลเมือง
พืช
- พืชสมุนไพร
- พืชล้มลุก
- พืชยืนต้น
การนำสมุนไพรไปใช้
- การทำน้ำยาดับกลิ่นในห้องจากมะกรูด
- ทำน้ำสมุนไพรจากตะไคร้
มาตรฐาน ว 1.1
- อธิบายถึงการเจริญเติบโตของพืชล้มลุก พืชยืนต้นได้
(ว 1.1.6/1)
-  สามารถวิเคราะห์ประเภทของพืชล้มลุก พืชยืนต้นได้
(ว 1.1.6/3)
มาตรฐาน ว2.1
- สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ของพืชสมุนไพร พืชล้มลุก พืชยืนต้น
(ว 1.1.6/3)
 - อธิบายวิธีการทำน้ำยาดับกลิ่นในห้องและการทำน้ำสมุนไพรได้ (ว 2.1.6/2)
มาตรฐาน ว2.2
- สืบค้นและอภิปรายแหล่งพืชสมุนไพร พืชล้มลุก พืชยืนต้นที่เป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต
(ว 2.2  ป.6/1)
- มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาพืชสมุนไพรในท้องถิ่น
(ว 2.2 .6/5)
มาตรฐาน ว3.2
สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงของพืชสมุนไพรที่ก่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต
 (ว 3.2 .6/3)
มาตรฐาน ว6.1
- อธิบายจำแนกประเภทของพืชสมุนไพร ล้มลุก ยืนต้น และนำไปใช้ประโยชน์ได้(ว 6.1 .6/1)
- สืบค้นและอธิบายเกี่ยวกับการทำน้ำยาดับกลิ่นสมุนไพรและน้ำยากำจัดสัตว์ในสภาพแวดล้อม
 (ว 6.1 .6/3)
มาตรฐาน ว8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นพืชสมุนไพร ล้มลุก ยืนต้น ตามความสนใจ
(ว 8.1 .6/1)
- แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระในการทำน้ำยาจากสมุนไพรในสิ่งที่ได้เรียนรู้
(ว 8.1 .6/6)
มาตรฐาน ส3.1
บอกวิธีและประโยชน์ของการใช้พืชสมันไพรได้อย่างยั่งยืน (ส3.1 .6/3)
มาตรฐาน ส3.2
ยกตัวอย่างการทำน้ำยาจากสมุนไพรที่อยู่ในท้องถิ่น
 (ส3.2.6/2)
มาตรฐาน ส5.2
- จัดทำแผนการใช้ทรัพยากรในชุมชน
 ( 5.2  ป.6/3)
-    ระบุแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ในชุมชนของตนเองได้ (5.2  ม.4/3)
-    มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาและการดำเนินชีวิตตามแนวทางการอนุรักษ์พืชสมุนไพร
( 5.2  ม.4/5)





มาตรฐาน ส4.1
อธิบายถึงความสำคัญของการใช้พืชสมุนไพรอย่างง่ายๆ
( ส4.1 6/1 )
มาตรฐาน ส 4.2
- ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของมสมุนไพร
 (4.2 .6/1)
สรุปลักษณะที่สำคัญของ  ขนมธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของการใช้สมุนไพร
(4.2 .6/2)
- เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างของพืชสมุนไพร อื่นๆ
(4.2 .6/3)
มาตรฐาน 4.3
อธิบายเกี่ยวกับพืชสมุนไพรล้มลุก ยืนต้น และควรแก่การอนุรักษ์
(ส4.3.6/4)

มาตรฐาน   ง 1.1
-     อภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานในแต่ละขั้นตอนได้
(1.1  .6 /1 )
-     ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ
 (1.1  .1 /2 )
-     ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล
(1.1  .1 /3 )
-     ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
 (1.1  .6 /3 )
มาตรฐาน ง 3.1
ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยหาข้อมูลเกี่ยวกับสมุนไพรจากความเข้าใจตามจินตนาการและความรับผิดชอบได้
(3.1 .6 /5 )

มาตรฐาน พ 2.1
อธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
( 2.1.6/5 )
มาตรฐาน  พ 4.1
-  สามารถแสดงพฤติกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในการทำงาน
( 4.1.6/1  )
มาตรฐาน  พ 5.1
- วิเคราะห์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสมุนไพรที่มีต่อร่างกาย  จิตใจและสังคม
(5.1.6/1)
- ระบุวิธีปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภัยจากการใช้สมุนไพร
 (5.1 .6/2  )
มาตรฐาน ศ 1.1
-  สามารถสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เกี่ยวกับการทำน้ำสมุนไพรหลักการเรื่องสี การจัดความสมดุล ความกลมกลืนของรูปและพื้นที่ว่างได้
( 1.1.6/1-6)
-  สามารถสร้างงานทัศนศิลป์ เป็นแผนภาพ แผนผังและภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิด หรือเรื่องราวเกี่ยวกับป่าในอนาคตได้
( 1.1.6/7)
- สามารถออกแบบรูปภาพ  สัญลักษณ์ ในการนำเสนอความคิดและข้อมูล
เกี่ยวกับการอนุรักษ์สมุนไพรได้
 ( 1.1 .1/5)
มาตรฐาน ศ 1.2
บรรยายบทบาทของงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนวิถีชีวิตในชุมชนเกี่ยวกับการอนุรักษ์สมุนไพรในชุมชนได้
(1.2 .6/1-2)










จุดเน้นที่ 1
เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมกับกาลเทศะ          
เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำรงชีวิตในสังคมไทย     
 จุดเน้นที่ 3
ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม 
จุดเน้นที่ 4
การทำงานร่วมกันอย่างมีเป้าหมายและเคารพในหน้าที่ของกันและกัน



สาระการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปศึกษา
หน้าที่พลเมือง
-     สรุปและนำเสนอหน่วย
-     การตกผลึกความรู้เกี่ยวกับสิ่งที่เรียนรู้มาทั้งหมด

มาตรฐาน ว 2.2
-    วิเคราะห์ผลของการเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์ต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศทั้งต่อโลก สังคม ชุมชนและตัวเราเอง
-    ( 2.2 .6/2 )
-    อภิปรายผลที่เกิดจากความเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศที่มีต่อสิ่งมีชีวิตต่างๆ ทั้งโดยทางธรรมชาติและมนุษย์
( 2.2  .6/3 )
-    อภิปรายแนวทางในการอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาป่าในชุมชนให้อยู่ได้อย่างยั่งยืน
( 2.2 .3/6)
-    วิเคราะห์สภาพปัญหา  สาเหตุของปัญหาที่เกิดจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศและระดับโลก
(2.2  .4/1)
มาตรฐาน  ว 8.1
-    สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบายลงความเห็น สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับแนวทางการอนุรักษ์  ฟื้นฟูและพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ให้อยู่ได้อย่างยั่งยืน รวมทั้งป่าไม้ในอนาคตได้
(8.1  .6/6 )
-    สร้างสารคดีหรือรูปแบบที่อธิบายให้เห็นความสำคัญของทรัพยากรป่าไม้ในชุมชนได้
(8.1  .1/6 )
-   นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
 (8.1 .6/8 )
มาตรฐาน  ส 3.1
อธิบายวิธีและประโยชน์ของการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน
 ( 3.1  .6/3)
มาตรฐาน  ส 5.2
-    อธิบายการเปลี่ยนแปลงสภาพธรรมชาติของประเทศไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน และผลที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนั้น
( 5.2  .6/2)
-    จัดทำแผนการใช้ทรัพยากรในชุมชน
-    ( 5.2  .6/3)
-    วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคม อันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรธรรมชาติทั้งในระดับโลก  ประเทศและชุมชน
(5.2  .3/1)
-    วิเคราะห์สถานการณ์และวิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยและโลก
( 5.2  .4/1)
-    ระบุแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ในชุมชนของตนเองได้
( 5.2 .4/3)
-    มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาและการดำเนินชีวิตตามแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
( 5.2  .4/5)
มาตรฐาน ส 4.1   
แสดงลำดับเหตุการณ์สำคัญของโรงเรียนและชุมชนโดยระบุหลักฐานและแหล่งข้อมูล
(4.1 .6/2)
มาตรฐาน ส 4.2
-   ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน
 (4.2 .6/1)
-   สรุปลักษณะที่สำคัญของขนมธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชน
(4.2 .6/2)
-   เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ
(4.2 .6/3)
มาตรฐาน ส 4.3
เล่าวีรกรรมของบรรพบุรุษไทยที่มีส่วนปกป้องป่าให้ยังคงอยู่ถึงปัจจุบัน
(4.3 .6/3)

มาตรฐาน   ง 1.1
-     อภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานในแต่ละขั้นตอนได้
(1.1  .6 /1 )
-     ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ
(1.1  .1 /2 )
-     ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล
(1.1  .1 /3 )
-     ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
 (1.1 .6 /3 )
-     ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานอย่างคุ้มค่าและยั่งยืนเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
(1.1  .4/7)
มาตรฐาน ง 3.1
-     ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบต่างๆได้อย่างเหมาะสมกับลักษณะงาน
(3.1  .3 /3)
-     ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากความเข้าใจตามจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวันอย่างมีจิตสำนึก และความรับผิดชอบได้
(3.1  .6 /5 )

มาตรฐาน  พ 2.1
อธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
( 2.1 .6/5 )
มาตรฐาน  พ 4.1 สามารถแสดงพฤติกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
( 4.1 .6/1  )
มาตรฐาน  พ 5.1
- วิเคราะห์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางทรัพยากร
ธรรมชาติที่มีต่อร่างกาย  จิตใจและสังคม
 ( 5.1 .6/1 )
- ระบุวิธีปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ
 (5.1 .6/2  )
มาตรฐาน ศ 1.1
-  สามารถสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เกี่ยวกับการทำป้ายอนุรักษ์ป่าใช้หลักการเรื่องสี การจัดความสมดุล ความกลมกลืนของรูปและพื้นที่ว่างได้
( 1.1 .6/1-6)
-  สามารถสร้างงานทัศนศิลป์ เป็นแผนภาพ แผนผังและภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิด หรือเรื่องราวเกี่ยวกับป่าในอนาคตได้
( 1.1 .6/7)
-  สามารถออกแบบรูปภาพ  สัญลักษณ์ ในการนำเสนอความคิดและข้อมูล
-  เกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าในชุมชนได้
( 1.1 .1/5)
มาตรฐาน ศ 1.2
บรรยายบทบาทของงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนวิถีชีวิตในชุมชนเกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าในชุมชนได้ ( 1.2 .6 1/2)

จุดเน้นที่ 1
เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมกับกาลเทศะ          
เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำรงชีวิตในสังคมไทย     
 จุดเน้นที่ 3
ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม 
จุดเน้นที่ 4
การทำงานร่วมกันอย่างมีเป้าหมายและเคารพในหน้าที่ของกันและกัน
จุดเน้นที่ 5
เข้าใจและแสดงออกถึงการเคารพในสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น




ปฏิทินการเรียนรู้แบบบูรณาการ PBL หน่วย :  “ เสียงกระซิบจากผืนป่า 

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 Quarter 2 ภาคเรียนที่ 1  ปีการศึกษา 2559
Week
Input
Process
Output
Outcome
     1
โจทย์
สร้างแรงบันดาลใจโดยการเดินสำรวจป่า
Key Question
นักเรียนคิดว่าการสำรวจป่าพบอะไรบ้างที่สามารถเป็นอาหารได้บ้าง
เครื่องมือคิด
- Blackboard Share แสดงความคิดร่วมกันเกี่ยวกับการการดำเนินชีวิตของแต่ละภูมิภาค
 - Brainstorms แลกเปลี่ยนสิ่งที่เห็น และความรู้สึกของตนเอง
- Show and Share นำเสนอชิ้นงาน
- Mind Mapping ก่อนเรียน




สื่อ/อุปกรณ์
 ดูสารคดีเกี่ยวกับป่าไม้หรือภาพยนตร์ เรื่อง Eco จิ๋วก้องโลก
- www. worldometers.info/th
- ป่าโคกหีบ
- กระดาษ A4
- สีไม้
- กระดาษ บรู๊ฟ
ดูสถิติการสูญเสียป่า การเพิ่มประประชากร การเพิ่มความต้องการใช้พลังงาน และสถิติอื่นๆที่สำคัญ จาก
www. worldometers.info/th/
วิเคราะห์   สาเหตุและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในการสูญเสียป่าไม้ โดยใช้เครื่องมือคิด Card and Chart
-   สำรวจป่าในชุมชนที่ใกล้ที่สุด
 (ป่าโคกหีบ)
- เปิดวงสนทนาแลกเปลี่ยนสนทนาสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการเดินสำรวจป่า
วิเคราะห์   ปัญหาที่เกิดขึ้นในป่าชุมชน หลังจากที่เดินสำรวจ โดยใช้เครื่องมือคิด Place Mat
- ออกแบบตั้งชื่อหน่วยทำกิจกรรม ตกแต่งห้องด้วยชื่อหน่วยที่ตั้งไว้
- Mind Mapping ก่อนเรียน
แลกเปลี่ยนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
สร้างสรรค์ชิ้นงานของตนเองงานศิลปะเกี่ยวกับป่า
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 1









ภาระงาน
การสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับป่าลงในสมุด
การวิเคราะห์ปัญหาป่าในชุมชนและผลกระทบที่จะเกิดขึ้น (Card and Chart)
การสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- การวางแผนการเดินป่า
ชิ้นงาน
สรุปความเข้าใจเกี่ยวกับป่าลงในสมุด
วิเคราะห์ปัญหาป่าในชุมชนและผลกระทบที่จะเกิดขึ้น (Card and Chart)
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 1
และการทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย
ความรู้
สามารถวิเคราะห์และให้เหตุผลสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
สามารถใช้ชีวิตในการเดินป่า
- ทักษะการพร้อมในการเดินป่า
- ทักษะการปฐมพยาบาลในการเดินป่า
- ทักษะในการจดบันทึก
ทักษะการคิด
-  คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการเดินป่า
คิดสร้างสรรค์แนวทางที่แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นกับป่าโคกหีบได้
- คิดเชื่อมโยงความพันธ์ระหว่าง ความสัมพันธ์ระหว่าง คน พืช สัตว์ และป่า

ทักษะการสื่อสาร
    อธิบายสิ่งที่ตนเองสิ่งที่ตนเองเรียนรู้ในการเดินสำรวจป่าโคกหีบผ่านชิ้นงาน เช่น บทความ นิทาน ภาพวาด
คุณลักษณะ :
- มีความอดทนในการเดินป่า การใช้ชีวิตในป่า
การเคารพสถานที่ (ป่าโคกหีบ) และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นในการเดินป่าด้วยความนอบน้อม
รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ส่งงานตรงเวลา
มีจิตอาสาในการทำงาน มีน้ำใจ ช่วยเหลือแบ่งปัน

2
โจทย์  
วางแผนการเรียนรู้
Key Question
นักเรียนจะออกแบบและวางแผนกิจกรรมให้เกิดการเรียนรู้อย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมสมองร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้  
- Round Rubin แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับปฎิทินการเรียนรู้
- Think Pair Share ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
- Blackboard Share สิ่งที่รู้แล้วและKey Questionเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- Show and Share นำเสนอชิ้นงาน
- Wall Thinking ปฎิทินการเรียนรู้,สิ่งที่รู้แล้ว  สิ่งที่อยากเรียนรู้
สื่อ/อุปกรณ์
บรรยากาศในห้องเรียน
- กระดาษ A4
- สีไม้
- กระดาษ ปรู๊ฟ














กิจกรรม
เขียนสิ่งที่รู้แล้ว/สิ่งที่อยากรู้
ทำปฏิทินการเรียนรู้ตลอด 10 สัปดาห์
Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
ทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 2



 ภาระงาน
 -การทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
การวางแผนทำปฏิทินการเรียนรู้
ชิ้นงาน
 - สิ่งที่รู้แล้ว/สิ่งที่อยากรู้
ปฏิทินการเรียนรู้ตลอด 10 สัปดาห์
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 2
ความรู้
-  สามารถวิเคราะห์และให้เหตุผลสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้รวมทั้งออกแบบวางแผนการเรียนรู้และเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
 ทักษะ :
ทักษะชีวิต
เลือกใช้เครื่องมือในการการคิดวิเคราะห์ข้อมูล สร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
เข้าใจและมีเป้าหมายในการเรียนรู้สิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม ทำปฏิทินการเรียนรู้
สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการคิด
การคิดวางแผนให้สอดคล้องกับเนื้อหาและกิจกรรมที่อยากเรียนรู้
 -  การคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหาในจำนวนป่าลดลงอย่าต่อเนื่อง
สังเคราะห์ข้อมูลจากสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่ตนเองรับรู้ได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่มวางแผนและจัดทำปฏิทินการเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้
- วางแผนทำชิ้นงานสอดคล้องของเนื้อหาและ กิจกรรมที่ได้เรียนรู้
- มีความกระตือรือร้นและลงมือทำสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
คุณลักษณะ :
เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
3
โจทย์
 คุณค่าและความสำคัญของป่า  (อากาศ / ปัจจัยสี่)
Key Question
- ถ้าไม่มีป่าโคกหีบคนในชุมชนจะหา ผัก อาหาร เลี้ยงสัตว์ได้อย่างไร โดยครูจะทำเป็นกิจกรรม Round Rubin 
- คุณครูให้เวลาพี่ ป.6 อยู่ในป่าเป็นเวลาครึ่งวัน พี่ๆจะใช้ชีวิตอยู่ในป่าอย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมสมองร่วมกันเกี่ยวกับคุณค่าและความสำคัญของป่าโคกหีบ
- Show and Share นำเสนอชิ้นงานนิทานเกี่ยวกับป่า
- Place Mat  การวิเคราะห์  วิพากษ์เกี่ยวกับคุณค่าและความสำคัญของป่าโคกหีบ
สื่อ/อุปกรณ์
- ป่าโคกหีบ
- กระดาษ A4 / สีไม้
- กระดาษ ปรู๊ฟ
-       ครูกระตุ้นด้วยKey Question จะใช้ชีวิตในป่าอย่างไร
-       จะวางแผนการเดินทางสำรวจป่าอย่างไร
- กิจกรรมเพาะเมล็ดพันธ์ไม้พื้นเมืองในชุมชน
- ถอดบทเรียนในการใช้ชีวิตในป่า พูดคุยสนทนา
- สนทนาถึงกิจกรรมการเดินป่า และการสัมผัสนิเวศแนวลึก
- การ์ตูนช่องในการใช้ชีวิตในป่า
แลกเปลี่ยนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
สร้างสรรค์ชิ้นงานของตนเอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 3
ภาระงาน
- สร้างการ์ตูนช่องในการใช้ชีวิตในป่า
การทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
การพูดคุยสนทนา วิเคราะห์  วิพากย์เกี่ยวกับคุณค่าและความสำคัญของป่า
การวางแผนพูดคุยการนำเสนอชิ้นงาน
 - การทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
ชิ้นงาน
- การ์ตูนช่องในการใช้ชีวิตในป่า
ชาร์ตความรู้เรื่องคุณค่าและความสำคัญของป่า
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 3


ความรู้
 เข้าใจความแตกต่างของคุณค่าและความ สำคัญของป่าได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
 -  สามารถคิดเชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้และการดำรงชีวิต
ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลายได้
สามารถสื่อสารในการแสดงความคิดเห็นและการนำเสนอผลงานจากเรื่องราวที่ศึกษาค้นคว้าและชิ้นงานที่ลงมือปฏิบัติ
ทักษะการแก้ปัญหา 
มีวิธีการในการค้นคว้าข้อมูลให้ตอบโจทย์กับสิ่งที่ต้องการศึกษาได้
คุณลักษณะ
เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
-.สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
สามารถคิดสังเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับจากการศึกษาค้นคว้าคุณค่าและความสำคัญของป่าโคกหีบได้
4
โจทย์  
- ประเภทของป่า/อุทยานแห่งชาติ
 สัตว์ป่าสงวน
 - ระบบนิเวศ ห่วงโซ่อาหาร สายใยอาหาร ความสัมพันธ์ของป่าและ
Key Question
- ทำไมป่าแต่ละพื้นที่มีพืชแตกต่างกัน
- ป่าในโลกนี้มีกี่ประเภท
- ป่าโคกหีบและป่าบริเวณลำน้ำมาศ
- แตกต่างกันอย่างไร
- ทำไมถึงมีกฎหมายห้ามล่าสัตว์ป่าบางชนิด
- ทำไมโรงเรียนต้องมีต้นไม้เยอะ
- ทำไมโรงเรียนต้องปลูกข้าวกินเอง
- ทำไมโรงเรียนต้องปลูกผักกินเอง
- ดวงอาทิตย์สำคัญกับพิธีนมอย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมสมองร่วมกันเกี่ยวกับวิถีชีวิตของชุมชนในกวางงอย
- Show and Share นำเสนอชิ้นงานนิทาน
- Place Mat  การวิเคราะห์เกี่ยวกับประเภทของป่า
พื้นที่ป่าอนุรักษ์/อุทยานแห่งชาติ
สัตว์ป่าสงวน
-  Card & Chart  ความแตกต่างมีผลต่อการดำรงชีวิตอย่างไร
- Brainstorms ระดมสมองร่วมกันเกี่ยวกับ ระบบนิเวศ ห่วงโซ่อาหาร สายใยอาหาร ความสัมพันธ์ของป่าและสิ่งมีชีวิต
- Mind Mapping สรุปความเข้าใจรายสัปดาห์
- Show and Share นำเสนอชิ้นงาน
สื่อ/อุปกรณ์
-   ป่าโคกหีบและป่าข้างลำน้ำมาศ
-   ห้องสมุด
-   อินเทอร์เน็ต
-   บรรยากาศในห้องเรียน/มุมหนังสือ
-   กระดาษปรู๊ฟ
- สี/ปากกาเคมี
- คลิประบบนิเวศและมหัศจรรย์สิ่งมีชีวิต
- Mind Mapping ระบบนิเวศ  ความสัมพันธ์ของป่า
- สีไม้
- กระดาษ ปรู๊ฟ
- สำรวจความแตกต่างของป่า แต่ละชนิด
จากป่าหนองพวง ป่าช้า และป่าข้างลำน้ำ
ลำมาศ
- พูดคุยโดยการใช้ Card & Chart ป่าทั้ง 3
ที่ ที่ไปสำรวจมาว่ามีส่วนที่เหมือนแตก
ต่างกันอย่างไร 
- นักเรียนจับคู่และครูแบ่งพื้นที่
 9 ตารางวา สำหรับสำรวจพืชและสัตว์และบันทึกข้อมูลลงในแบบสำรวจรวมทั้งถ่ายภาพเพื่อเป็นหลักฐานและประกอบการเรียนรู้ การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต
- สำรวจระบบนิเวศสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ในป่า
- Show and Share  ระบบนิเวศ
- จับฉลากเพื่อเลือกชนิดของป่าไปศึกษาว่าเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร
- นำเสนอและนำข้อมูลมาจัดกระทำในรูปแบบที่น่าสนใจและเข้าใจง่าย
- ทำflow chart ห่วงโซ่-สายใยอาหาร
- สรุปความเข้าใจเกี่ยวกับระบบนิเวศ  ความสัมพันธ์ของป่าเป็น  Mind Mapping
- เพาะเมล็ดถั่วเขียว ไว้เรียนสัปดาห์ที่ 5
-  เลือกสิ่งที่นักเรียนต้องการนำเสนอ
แลกเปลี่ยนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 4
ภาระงาน
การนำสมุดภาพหรือนิทาน
เกี่ยวกับประเภทของป่า /
อุทยานแห่งชาติและสัตว์
ป่าสงวน
 - การMind Mapping ระบบ นิเวศ  ความสัมพันธ์ของป่า
- การสำรวจพืชและสัตว์ในพื้นที่ป่าตามกำหนด
-      การนำเสนอสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 4
ชิ้นงาน
-      สมุดภาพหรือนิทาน เกี่ยวกับประเภทของป่า/อุทยานแห่งชาติและสัตว์ป่าสงวน
- Mind Mapping ระบบนิเวศ  ความสัมพันธ์ของป่า
- สำรวจพืชและสัตว์ในพื้นที่ป่าตามกำหนด
- สรุปความเข้าใจรายสัปดาห์ที่ 4

ความรู้
เข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลเรื่องประเภทของป่า อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าสงวน
- เรียนรู้สัตว์ป่า พืช ในป่าโคกหีบ และอื่นๆ
เข้าใจและอธิบายระบบนิเวศห่วงโซ่อาหาร สายใยอาหาร และความสัมพันธ์ของป่ากับสิ่งมีชีวิต
- สามารถสังเคราะห์ถึงความแตกต่างที่หลากหลายและนำไปปรับประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต
- สังเคราะห์เรื่องราวจากข้อมูลเพื่อนำไปปรับใช้ในการดำรงชีวิตและสามารถถ่ายทอดเรื่องราวสู่ผู้อื่นได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต:
-  สามารถปรับตัวในการอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นที่มีความแตกต่างจากตนได้อย่างมีความสุข
สามารถสื่อสารในการแสดงความคิดเห็นและการนำเสนอผลงานจากเรื่องราวที่ศึกษาค้นคว้าและชิ้นงานที่ลงมือปฏิบัติ
ทักษะการแก้ปัญหา
 มีวิธีการในการค้นคว้าข้อมูลให้ตอบโจทย์กับสิ่งที่ต้องการศึกษาได้
คุณลักษณะ
เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย

5
โจทย์
 การทดลองเกี่ยวกับระบบนิเวศ
เช่น การสังเคราะห์แสง  ออกซิเจน การคายน้ำ ลำเลียงน้ำ แสงกับการเจริญเติบโต
Key Question
- ต้นไม้ชนิดใดให้ปริมาณออกซิเจนมากที่สุดและกำจัดคาร์บอนไดออกไซด์ได้ดีที่สุด
- ต้นไม้ผลิตออกซิเจนได้อย่างไร 
- ต้นไม้มีกระบวนการอย่างไรในการผลิตออกซิเจน
- ถ้าไม่มีต้นไม้ เราจะได้ออกซิเจนจากแหล่งใด
- แสงและน้ำมีผลต่อพืชอย่างไร





เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมสมองร่วมกันเกี่ยวกับการทดลอง
- Show and Share นำเสนอนิทานเกี่ยวกับการทดลองทางวิทยาศาสตร์ การคายน้ำ การสังเคราะห์แสงและการตอบสนองของพืชต่อน้ำและแสง
 สื่อ/อุปกรณ์
- ห้องสมุด
- อินเทอร์เน็ต
- บรรยากาศในห้องเรียน
- กระดาษ A4
- สีไม้
- กระดาษ ปรู๊ฟ


- แบ่งกลุ่มศึกษาข้อมูลและ  ทดลองเกี่ยวกับระบบนิเวศ เช่น การสังเคราะห์แสง  ออกซิเจน การคายน้ำ ลำเลียงน้ำ แสงกับการเจริญเติบโต
- นำเสนอการทดลองที่ทำการทดลอง
- Show and Share  ผลการทดลอง
- วางแผนโครงการร่วมกับชุมชน
กวางงอย (โครงการเก็บขยะในป่า)
- สรุปความเข้าใจรายสัปดาห์ที่ 5




ภาระงาน
- การวางแผนการทดลอง
- การทดลองและสรุปผลการทดลอง
- การนำเสนอผลการทดลอง
- การสรุปสัปดาห์ที่ 5
ชิ้นงาน
- การวางแผนการทดลอง
- ทดลองต่างๆ
- การนำเสนอผลการทดลอง
- สรุปสัปดาห์ที่ 5
 ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายการสังเคราะห์แสง  ออกซิเจน การคายน้ำ ลำเลียงน้ำ แสงกับการเจริญเติบโต

ทักษะ
ทักษะชีวิต
- สามารถอธิบายการใช้อุปกรณ์ในการสร้างชิ้นงานได้
- สามารถแสดงความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่นและรู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง
- สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้
- สามารถมองเห็นข้อดี ข้อเสีย จากมุมมองที่หลากหลาย

ทักษะการแก้ปัญหา:
 - สามารถแก้ไขปัญหาระหว่างการทำชิ้นงานได้
- มีวิธีการในการค้นคว้าข้อมูลให้ตอบโจทย์กับสิ่งที่ต้องการศึกษาได้
- สามารถการจัดลำดับข้อมูลอย่างเป็นระบบสำหรับการทำงานและการทดลอง
คุณลักษณะ
- เคารพ เห็นคุณค่า ของตนเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ รอบตัว
- มีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบ ใส่ใจในหน้าที่ของตนเอง
- สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ